เมื่อพิจารณาศัพท์คำว่า Computer ถ้าแปลกันตรงตัวตามคำภาษาอังกฤษ จะหมายถึง เครื่องคำนวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่องคำนวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คำนวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือประจำตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด คุณลักษณะสำคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 4 ประการ คือ 2. ทำงานได้อเนกประสงค์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อเนกประสงค์ เพราะทำงานได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่ใช้ เช่น โปรแกรมเงินเดือน โปรแกรมคิดคะแนนสอบของนักเรียน เป็นต้น 3. เป็นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบกันเข้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ล้วนแล้วแต่เป็นอุปกรณ์ทางด้าน 4. เป็นระบบดิจิตอล คำว่า ดิจิตอล (Digital) มาจากคำว่า Digit หมายถึง ตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ทำงานโดยใช้ระบบตัวเลข ข้อมูลทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือเครื่องหมายในทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เมื่อส่งเข้าเครื่องรับข้อมูลของคอมพิวเตอร์แล้ว |
วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บุคลากร
หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้ 4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น |
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ (Computer software)
ชนิด |
- ซอฟต์แวร์ระบบ
คือ ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท ผู้ ผลิต สร้าง ขึ้น มา เพื่อ ใช้ จัด การกับระบบ หน้า ที่ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำ เนิน งาน พื้น ฐาน ต่าง ๆ ของ ระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น รับ ข้อ มูล จาก แผง แป้น อักขระ แล้ว แปล ความ หมาย ให้ คอมพิวเตอร์ เข้า ใจ นำ ข้อ มูล ไป แสดง ผล บน จอ ภาพ หรือ นำ ออก ไป ยังเครื่องพิมพ์ จัด การ ข้อ มูล ใน ระบบ แฟ้ม ข้อ มูล บน หน่วย ความ จำ รอง - เมื่อ
เรา เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทัน ที ที่ มี การ จ่าย กระแส ไฟ ฟ้า ให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ตาม โปรแกรม ทัน ที โปรแกรม แรก ที่ สั่ง คอมพิวเตอร์ ทำ งาน นี้ เป็น ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ อาจ เก็บ ไว้ ใน รอม หรือ ใน แผ่น จาน แม่ เหล็ก หาก ไม่ มี ซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ไม่ ได้ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ยัง ใช้ เป็นเครื่องมือ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ และ ยัง รวม ไป ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ต่าง ๆ
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์
เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้กับงาน ด้าน ต่าง ๆ ตาม ความ ต้อง การ ของ ผู้ ใช้ ที่ สามารถ นำ มา ใช้ ประ โยชน์ ได้ โดย ตรง ปัจจุบัน มี ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน ทางด้าน ต่าง ๆ ออก จำหน่าย มาก การ ประยุกต์ งาน คอมพิวเตอร์ จึง กว้าง ขวาง และ แพร่ หลาย เรา อาจ แบ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ออก เป็น สอง กลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และ ซอฟต์แวร์ที่ พัฒนา ขึ้น ใช้ งาน เฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จ ใน ปัจจุบัน มี มาก มาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ฯล ฯ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
-
- ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย รับ เข้า และ หน่วย ส่ง ออก เช่น รับ การ กด แป้น ต่าง ๆ บน แผง แป้น อักขระ ส่ง รหัส ตัว อักษร ออก ทางจอ ภาพ หรือเครื่องพิมพ์ ติด ต่อกับอุปกรณ์ รับ เข้า และ ส่ง ออก อื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์ สังเคราะห์ เสียง
- ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย ความ จำ เพื่อ นำ ข้อ มูล จาก แผ่น บัน ทึก มา บรรจุ ยัง หน่วย ความ จำ หลัก หรือ ใน ทำนอง กลับ กัน คือ นำ ข้อ มูล จาก หน่วย ความ จำ หลัก มา เก็บ ไว้ ใน แผ่น บัน ทึก
- ใช้
เป็น ตัว เชื่อม ต่อ ระหว่าง ผู้ ใช้ งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถ ใช้ งาน ได้ ง่ายขึ้น เช่น การ ขอ ดู ราย การ สารบบ ใน แผ่น บัน ทึก การ ทำ สำเนา แฟ้ม ข้อ มูล - ใช้
- ระบบ
ปฏิบัติ การ - ระบบ
ปฏิบัติ การ หรือ ที่ เรียก ย่อ ๆ ว่า โอ เอส (Operating System : OS) เป็น ซอฟต์แวร์ใช้ ใน การ ดู แล ระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะ ต้อง มี ซอฟต์แวร์ระบบ ปฏิบัติ การ นี้ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ นิยม ใช้ กัน มาก และ เป็น ที่ รู้ จัก กัน ดี เช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอ เอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) - 1) ดอส
เป็น ซอฟต์แวร์จัด ระบบ งาน ที่ พัฒนา มา นาน แล้ว การ ใช้ งาน จึง ใช้ คำ สั่ง เป็น ตัว อักษร ดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่ รู้ จัก กัน ดี ใน หมู่ ผู้ ใช้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ - 2) วินโดวส์ เป็น
ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา ต่อ จากดอส เพื่อ เน้น การ ใช้ งาน ที่ ง่ายขึ้น สามารถ ทำ งาน หลาย งาน พร้อม กัน ได้ โดย งาน แต่ ละ งาน จะ อยู่ ใน กรอบ ช่อง หน้า ต่าง ที่ แสดง ผล บน จอ ภาพ การ ใช้ งาน เน้น รูป แบ บก รา ฟิก ผู้ ใช้ งาน สามารถ ใช้ เมาส์เลื่อน ตัว ชี้ ตำแหน่ง เพื่อ เลือก ตำแหน่ง ที่ปรากฏบน จอ ภาพ ทำ ให้ ใช้ งาน คอมพิวเตอร์ ได้ ง่าย วินโดวส์จึง ได้ รับ ความ นิยม ใน ปัจจุบัน - 3) โอ
เอสทู เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ แบบ เดียวกับวินโดว์ส แต่ บริษัท ผู้ พัฒนา คือ บริษัท ไอบีเอ็ม เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ให้ ผู้ ใช้ สามารถ ใช้ ทำ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ การ ใช้ งาน ก็ เป็น แบ บก รา ฟิก เช่น เดียวกับวินโดวส ์ - 4) ยูนิกซ์
เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา มา ตั้ง แต่ ครั้ง ใช้กับเครื่องมิ นิ คอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ สามารถ ใช้ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ ทำ งาน ได้ หลาย ๆ งาน ใน เวลา เดียว กัน ยูนิกซ์จึง ใช้ ได้กับเครื่องที่ เชื่อม โยง และ ต่อกับเครื่อปลาย ทางได้ หลายเครื่องพร้อม กัน - ระบบ
ปฏิบัติ การ ยัง มี อีก มาก โดย เฉพาะ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ใช้ ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เพื่อ ให้ คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ร่วม กัน เป็น ระบบ เช่น ระบบ ปฏิบัติ การเน็ตแวร์ วินโดว์สเอ็น ที
- ตัว
แปล ภาษา - ใน
การ พัฒนา ซอฟต์แวร์จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ระดับ สูง เพื่อ แปล ภาษา ระดับ สูง ให้ เป็น ภาษาเครื่อง ภาษา ระดับ สูง มี หลาย ภาษา ภาษา ระดับ สูง เหล่า นี้ สร้าง ขึ้น เพื่อ ให้ ผู้ เขียน โปรแกรม เขียน ชุด คำ สั่ง ได้ ง่าย เข้า ใจ ได้ ตลอด จน ถึง สามารถ ปรับ ปรุง แก้ ไข ซอฟต์แวร์ใน ภาย หลัง ได้ - ภาษา
ระดับ สูง ที่ พัฒนา ขึ้น มา ทุก ภาษา จะ ต้อง มี ตัว แปล ภาษา สำหรับ แปล ภาษา ภาษา ระดับ สูง ซึ่ง เป็น ที่ รู้ จัก และ นิยม กัน มาก ใน ปัจจุบัน เช่น ภาษา ปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษา ซี และ ภาษาโลโก - 1) ภาษา
ปาสคาล เป็น ภาษา สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ ที่ มี รูป แบบ เป็น โครง สร้าง เขียน สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ เป็น กระบวน ความ ผู้ เขียน สามารถ แบ่ง แยก งาน ออก เป็น ชิ้น เล็ก ๆ แล้ว มา รวม กัน เป็น โปรแกรม ขนาด ใหญ่ ได้ - 2) ภาษาเบสิก
เป็น ภาษา ที่ มี รูป แบบ คำ สั่ง ไม่ ยุ่ง ยาก สามารถ เรียน รู้ และ เข้า ใจ ได้ ง่าย มี รูป แบบ คำ สั่ง พื้น ฐาน ที่ สามารถ นำ มา เขียน เรียง ต่อ กัน เป็น โปรแกรม ได้ - 3) ภาษาซ
ี เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ ใช้ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษา ซี เป็น ภาษา ที่ มี โครง สร้าง คล่อง ตัว สำหรับ การ เขียน โปรแกรม หรือ ให้ คอมพิวเตอร์ ติดต ่อกับอุปกรณ์ ต่าง ๆ - 4) ภาษาโลโก
เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ การ เรียน รู้ และ เข้า ใจ หลัก การ โปรแกรม ภาษาโลโก ได้ รับ การ พัฒนา สำ หรับ เด็ก - นอก
จาก ภาษา ที่ กล่าว ถึง แล้ว ยัง มี ภาษา คอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ กัน อยู่ ใน ปัจจุบัน อีก มาก มาย หลาย ภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษา โค บอล ภาษา อาร์พีจ ี - ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
- ซอฟต์แวร์สำเร็จ
- ใน
บรรดา ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่ มี ใช้ กัน ทั่ว ไป ซอฟต์แวร์สำเร็จ (package) เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี ความ นิยม ใช้ กัน สูง มาก ซอฟต์แวร์สำเร็จ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท พัฒนา ขึ้น แล้ว นำ ออก มา จำหน่าย เพื่อ ให้ ผู้ ใช้ งาน ซื้อ ไป ใช้ ได้ โดย ตรง ไม่ ต้อง เสีย เวลา ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สำเร็จ ที่ มี จำหน่าย ใน ท้อง ตลาด ทั่ว ไป และ เป็น ที่ นิยม ของ ผู้ ใช้ มี 5 กลุ่ม ใหญ่ ได้ แก่ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ (word processing software) ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นำ เสนอ (presentation software) และ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล (data communication software) - 1) ซอฟต์แวร์ประมวล
คำ เป็น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ใช้ สำหรับ การ พิมพ์ เอก สาร สามารถ แก้ ไข เพิ่ม แทรก ลบ และ จัด รูป แบบ เอก สาร ได้ อย่าง ดี เอก สาร ที่ พิมพ์ ไว้ จัด เป็น แฟ้ม ข้อ มูล เรียก มา พิมพ์ หรือ แก้ ไข ใหม่ ได้ การ พิมพ์ ออก ทางเครื่องพิมพ์ ก็ มี รูป แบบ ตัว อักษร ให้ เลือก หลาย รูป แบบ เอก สาร จึง ดู เรียบ ร้อย สวย งาม ปัจจุบัน มี การ เพิ่ม ขีด ความ สามารถ ของ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ อีก มาก มาย ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ที่ นิยม อยู่ ใน ปัจจุบัน เช่น วินส์เวิร์ด จุฬา จารึก โลตัสเอ มิ โป ร - 2) ซอฟต์แวร์ตา
ราง ทำ งาน เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ คิด คำนวณ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ใช้ หลัก การ เสมือน มี โต๊ะ ทำ งาน ที่ มี กระดาษ ขนาด ใหญ่ วาง ไว้ มีเครื่องมือ คล้าย ปากกา ยาง ลบ และเครื่องคำนวณ เตรียม ไว้ ให้ เสร็จ บน กระดาษ มี ช่อง ให้ ใส่ ตัว เลข ข้อ ความ หรือ สูตร สามารถ สั่ง ให้ คำนวณ ตาม สูตร หรือ เงื่อน ไข ที่ กำหนด ผู้ ใช้ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน สามารถ ประยุกต์ ใช้ งาน ประมวล ผล ตัว เลข อื่น ๆ ได้ กว้าง ขวาง ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซล โลตั ส - 3) ซอฟต์แวร์จัด
การ ฐาน ข้อ มูล การ ใช้ คอมพิวเตอร์ อย่าง หนึ่ง คือ การ ใช้ เก็บ ข้อ มูล และ จัด การกับข้อ มูล ที่ จัด เก็บ ใน คอมพิวเตอร์ จึง จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์จัด การ ข้อ มูล การ รวบ รวม ข้อ มูล หลาย ๆ เรื่อง ที่ เกี่ยว ข้อง กัน ไว้ ใน คอมพิวเตอร์ เรา ก็ เรียก ว่า ฐาน ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล จึง หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ เก็บ การ เรียก ค้น มา ใช้ งาน การ ทำ ราย งาน การ สรุป ผล จาก ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซส ดี เบส พา ราด็อก ฟ๊อก เบส - 4) ซอฟต์แวร์นำ
เสนอ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ สำหรับ นำ เสนอ ข้อ มูล การ แสดง ผล ต้อง สามารถ ดึง ดูด ความ สน ใจ ซอฟต์แวร์เหล่า นี้ จึง เป็น ซอฟต์แวร์ที่ นอก จาก สามารถ แสดง ข้อ ความ ใน ลักษณะ ที่ จะ สื่อ ความ หมาย ได้ ง่ายแล้ว จะ ต้อง สร้าง แผน ภูมิ กราฟ และ รูป ภาพ ได้ ตัว อย่าง ของ ซอฟต์แวร์นำ เสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรี แลนซ์ ฮาร์วาร์ดก รา ฟิก - 5) ซอฟต์แวร์สื่อ
สาร ข้อ มูล ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล นี้ หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ จะ ช่วย ให้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ติด ต่อ สื่อ สารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น ใน ที่ ห่าง ไกล โดย ผ่าน ทางสาย โทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ใช้ เชื่อม โยง ต่อ เข้ากับระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำ ให้ สามารถ ใช้ บริการ อื่น ๆ เพิ่ม เติม ได้ สามารถ ใช้ รับ ส่ง ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ โอน ย้าย แฟ้ม ข้อ มูล ใช้ แลก เปลี่ยน ข้อ มูล อ่าน ข่าว สาร นอก จาก นี้ ยัง ใช้ ใน การ เชื่อม เข้า หา มิ นิ คอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม เพื่อ เรียก ใช้ งาน จากเครื่องเหล่า นั้น ได้ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล ที่ นิยม มี มาก มาย หลาย ซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เท ลิ ก
- ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ - การ
ประยุกต์ ใช้ งาน ด้วย ซอฟต์แวร์สำเร็จ มัก จะ เน้น การ ใช้ งาน ทั่ว ไป แต่ อาจ จะ นำ มา ประยุกต์ โดย ตรงกับงาน ทางธุรกิจ บาง อย่าง ไม่ ได้ เช่น ใน กิจ การ ธนาคาร มี การ ฝาก ถอน เงิน งาน ทางด้าน บัญชี หรือ ใน ห้าง สรรพ สิน ค้า ก็ มี งาน การ ขาย สิน ค้า การ ออก ใบ เสร็จ รับ เงิน การ ควบ คุม สิน ค้า คง คลัง ดัง นั้น จึง ต้อง มี การ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ สำหรับ งาน แต่ ละ ประเภท ให้ ตรงกับความ ต้อ งการ ของ ผู้ ใช้ แต่ ละ ราย - ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ มัก เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ผู้ พัฒนา ต้อง เข้า ไป ศึกษา รูป แบบ การ ทำ งาน หรือ ความ ต้อง การ ของ ธุรกิจ นั้น ๆ แล้ว จัด ทำ ขึ้น โดย ทั่ว ไป จะ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี หลาย ส่วน รวม กัน เพื่อ ร่วม กัน ทำ งาน ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ที่ ใช้ กัน ใน ทางธุรกิจ เช่น ระบบ งาน ทางด้าน บัญชี ระบบ งาน จัด จำหน่าย ระบบ งาน ใน โรง งาน อุตสาหกรรม บริหาร การ เงิน และ การเช่าซื้อ - ความ
ต้อง การ ของ การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ใน งาน ทางธุรกิจ ยัง มี อีก มาก ดัง นั้น จึง ต้อง มี ความ ต้อง การ ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่อ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ต่าง ๆ อีก มาก มาย - ใน
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
|
หน่วยความจำภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory)
เป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
- หน่วยความจำแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจำถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
หน่วยความจำต่ำสุด คือ บิต (BIT [Binary Digit]) โดยใช้บิตแทน 1 ตัวอักขระ หรือ 1 ไบต์ (Bite) หน่วยที่ใหญ่ขึ้นมาอีกหน่วย คือ กิโลไบต์ (Kilobyte) โดยที่ 1 กิโลไบต์ มีค่าเท่ากับ 2 10 ไบต์ หรือ 1,024 ไบต์ หน่วยความจำที่ใหญ่ขึ้นไปอีก เรียกว่า เมกะไบต์ กิกะไบต์ และเทระไบต์
ฮาร์ดดิสก์ ( Hard Disk ) เป็นจานแม่เหล็กชนิดแข็ง ชนิดติดแน่นไม่มีการเคลื่อนที่ สามารถบรรจุข้อมูลได้จำนวนมาก เป็น 2 ขนาด คือ 1. ขนาด 5.25 นิ้ว (ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว)
2. ขนาด 3.5 นิ้ว ทั้ง 2 ขนาดจะมีความจุ ตั้งแต่ 10,20,40,80,120,300,400 MB1 GB,2 GB ฯลฯ ปัจจุบันนิยมใช้ตั้งแต่ 10 GB ขึ้นไป
- หน่วยความจำภายใน
- หน่วยความจำแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจำถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
2. หน่วยความจำสำรอง ได้แก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ (Diskett) CD-ROM
แผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดยใช้อำนาจแม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการขับเคลื่อนแผ่นดิสก์ โดยแบ่งตำแหน่งพื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ- แผ่นดิสก์ขนาด 8 นิ้ว ปัจจุบันไม่นิยมใช้
- แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถบันทึกข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB
- แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถบันทึกข้อมูลได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44 MB นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน
หน่วยวัดความจุของข้อมูลในคอมพิวเตอร์
8 Bit
| 1 Byte |
1 Byte | 1 ตัวอักษร |
1 KB | 1,024 Byte |
1 MB | 1,024 KB |
1 GB | 1,024 MB |
1 TB | 1,024 GB |
ฮาร์ดดิสก์ ( Hard Disk ) เป็นจานแม่เหล็กชนิดแข็ง ชนิดติดแน่นไม่มีการเคลื่อนที่ สามารถบรรจุข้อมูลได้จำนวนมาก เป็น 2 ขนาด คือ 1. ขนาด 5.25 นิ้ว (ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว)
2. ขนาด 3.5 นิ้ว ทั้ง 2 ขนาดจะมีความจุ ตั้งแต่ 10,20,40,80,120,300,400 MB1 GB,2 GB ฯลฯ ปัจจุบันนิยมใช้ตั้งแต่ 10 GB ขึ้นไป
Hard disk
Data Rate หมายถึง ความเร็วในการอ่านข้อมูลจากดิสก์ไปสู่สมองของเครื่องคอมพิวเตอร์ (หรือมีความเร็วในการนำข้อมูลมาจากสมองเครื่องไปบันทึกลงบนดิสก์) มีหน่วยวัดเป็น จำนวนไบต์ต่อวินาที ( Bytes Per Second หรือ bps )คุณสมบัติดังนี้ซีดีรอม (CD-Rom ) เป็นจานแสงชนิดหนึ่ง ใช้เก็บข้อมูลที่มีความเร็วในการใช้งานสูง มี
- เป็นสื่อที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก โดยจะมีความจุสูงถึง 2 GB (2 พันล้านไบต์)
- มีขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก
- ใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ในการอ่านเขียนข้อมูล
- เป็นจานแสงชนิดอ่านได้อย่างเดียว ( Read Only Memory ) ไม่สามารถเขียนหรือลบข้อมูลได้
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
| ||
การทำงานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปล ความหมาย และกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทำการประมวลผล กลไกการทำงานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทำงานได้ดีขึ้น โดยแบ่งการทำงาน เป็นส่วน ๆ มีการทำงานแบบขนาน และทำงานเหลื่อมกันเพื่อให้ทำงานได้เร็วขึ้น | ||
การพัฒนาซีพียูก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และถูกพัฒนาให้อยู่ในรูปไมโครชิบที่เรียกว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ไมโครโพรเซสเซอร์จึงเป็นหัวใจหลักของระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ถึงไมโครคอมพิวเตอร์ ล้วนแล้วแต่ใช้ไมโครชิปเป็นซีพียูหลัก ในเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เช่น ES9000 ของบริษัทไอบีเอ็มก็ใช้ไมโครชิปเป็น ซีพียู แต่อาจจะมีมากกว่าหนึ่งชิปประกอบรวมเป็นซีพียู เทคโนโลยีไมโครโพรเซสเซอร์ได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว โดยเริ่มจากปี พ.ศ. 2518 บริษัทอินเทลได้พัฒนา ไมโครโพรเซสเซอร์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ไมโครโพรเซสเซอร์เบอร์ 8080 ซึ่งเป็นซีพียูขนาด 8 บิต ซีพียูรุ่นนี้จะรับข้อมูล เข้ามาประมวลผลด้วยตัวเลขฐานสองครั้งละ 8 บิต และทำงานภายใต้ระบบปฎิบัติการซีพีเอ็ม (CP/M) ต่อมาบริษัทแอปเปิ้ล ก็เลือก ซีพียู 6502 ของบริษัทมอสเทคมาผลิตเป็นเครื่องแอปเปิ้ลทู ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคนั้น | ||
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยส่วนมากเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียูของตระกูลอินเทลที่พัฒนามาจาก 8088 8086 80286 80386 80486 และเพนเตียม ตามลำดับ การพัฒนาซีพียูตระกูลนี้เริ่มจาก ซีพียูเบอร์ 8088 ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2524 มีการพัฒนาเป็นซีพียูแบบ 16 บิต ที่มีการรับข้อมูลจากภายนอกทีละ 8 บิต แต่การประมวลผลบวกลบคูณหารภายในจะกระทำทีละ 16 บิต บริษัทไอบีเอ็ม เลือกซีพียูตัวนี้เพราะอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ในสมัยนั้นยังเป็นระบบ 8 บิต คอมพิวเตอร์รุ่นซีพียู 8088 แบบ 16 บิตนี้ เรียกว่า พีซี และเป็นพีซีรุ่นแรก ขีดความสามารถของซีพียูที่จะต้องพิจารณา นอกจากขีดความสามารถในการประมวลผลภายใน การับส่งข้อมูล ระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์ภายนอกแล้ว ยังต้องพิจารณาขีดความสามารถในการเข้าไปเขียนอ่านในหน่วยความจำด้วย ซีพียู 8088 สามารถเขียนอ่านในหน่วยความจำได้สูงสุดเพียง 1 เมกะไบต์ (ประมาณหนึ่งล้านไบต์) ซึ่งถือว่ามากในขณะนั้น ความเร็วของการทำงานของซีพียูขึ้นอยู่กับการให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกาซีพียู 8088 ถูกกำหนดจังหวะด้วยสัญญาณนาฬิกาที่มีความเร็ว 4.77 ล้านรอบใบ 1 วินาทีหรือที่เรียกว่า 4.77 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ซึ่งปัจจุบันถูกพัฒนาให้เร็วขึ้นเป็นลำดับ ไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นพีซีได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมฮาร์ดดิสก์ลงไปและปรับปรุงซอฟต์แวร์ระบบและเรียกชื่อรุ่นว่า พีซีเอ็กซ์ที (PC-XT) ในพ.ศ. 2527 ไอบีเอ็มเสนอไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ทำงานได้ดีกว่าเดิม โดยใช้ชื่อรุ่นว่า พีซีเอที (PC-AT) คอมพิวเตอร์รุ่นนี้ใช้ซีพียูเบอร์ 80286 ทำงานที่ความเร็วสูงขึ้นคือ 6 เมกะเฮิรตซ์ การทำงานของซีพียู 80286 ดีกว่าเดิมมาก เพราะรับส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ภายในเป็นแบบ 16 บิตเต็ม การประมวลผลก็เป็นแบบ 16 บิต ทำงานด้วยความเร็วของจังหวะสัญญาณนาฬิกาสูงกว่า และยังติดต่อเขียนอ่านกับ หน่วยความจำได้มากกว่า คือ ติดต่อได้สูงสุด 16 เมกะไบต์ หรือ 16 เท่าของคอมพิวเตอร์รุ่นพีซี | ||
ในพ.ศ. 2529 บริษัทอินเทลประกาศตัวซีพียูรุ่นใหม่ คือ 80386 หลายบริษัทรวมทั้งบริษัทไอบีเอ็มเร่งพัฒนา โดยนำเอาซีพียู 80386 มาเป็นซีพียูหลักของระบบ ซีพียู 80386 เพิ่มเติมขีดความสามารถอีกมาก เช่น รับส่งข้อมูล ครั้งละ 32 บิต ประมวลผลครั้งละ 32 บิต ติอต่อกับหน่วยความจำได้มากถึง 4 จิกะไบต์ (1 จิกะไบต์เท่ากับ 1024 บ้านไบต์) จังหวะสัญญาณนาฬิกาเพิ่มได้สูงถึง 33 เมกะเฮิรตซ์ ขีดความสามารถสูงกว่าพีซีรุ่นเดิมมาก และใน พ.ศ. 2530 บริษัทไอบีเอ็มเริ่มประกาศขายไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ชื่อว่า พีเอสทู (PS/2) โดยมีโครงสร้างทางฮาร์ดแวร์ของระบบ แตกต่างออกไปโดยเฉพาะระบบเส้นทางส่งถ่ายข้อมูลภายใน (bus) ผลปรากฎว่า เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น 80386 ไม่เป็นที่นิยมมากนัก ทั้งนี้เพราะยุคเริ่มต้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ 80386 มีราคาแพงมาก ดังนั้นในพ.ศ. 2531 อินเทลต้องเอาใจลูกค้าในกลุ่มเอทีเดิม คือลดขีดความสามารถของ 80386 ลงให้เหลือเพียง 80386SX ซีพียู 80386SX ใช้กับโครงสร้างเครื่องพีซีเอทีเดิมได้พอดีโดยแทบไม่ต้องดัดแปลงอะไร ทั้งนี้เพราะโครงสร้าง ภายในซีพียูเป็นแบบ 80386 แต่โครงสร้างการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกใช้เส้นทางเพียงแค่ 16 บิต ไมโครคอมพิวเตอร์ 80386SX จึงเป็นที่นิยมเพราะมีราคาถูกและสามารถทดแทนเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นพีซีเอทีได้ | ||
พียู 80486 เป็นพัฒนาการของอินเทลใน พ.ศ. 2532 และเริ่มใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปีต่อมา ความจริงแล้วซีพียู 80486 ไม่มีข้อเด่นอะไรมากนัก เพียงแต่ใช้เทคโนโลยีการรวมชิป 80387 เข้ากับซีพียู 80386 ซึ่งชิป 80387 เป็นหน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์ และรวมเอาส่วนจัดการหน่วยความจำเข้าไว้ในชิป ทำให้การทำงานโดยรวมรวดเร็วขึ้นอีก ในพ.ศ. 2535 อินเทลได้ผลิตซีพียูตัวใหม่ที่มีขีดความสามารถสูงขึ้น ชื่อว่า เพนเตียม การผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ จึงได้เปลี่ยนมาใช้ซีพียูเพนเตียม ซึ่งเป็นซีพียูที่มีขีดความสามารถเชิงคำนวณสูงกว่าซีพียู 80486 มีความซับซ้อนกว่าเดิม และใช้ระบบการส่งถ่ายข้อมูลได้ถึง 64 บิต การพัฒนาทางด้านซีพียูเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นใหม่จะมีโครงสร้างที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น ใช้งานได้ดีมากขึ้น | ||
ประกอบด้วยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ หน่วยคำนวณ และ หน่วยควบคุม | ||
1.หน่วยควบคุม (Arithmetic and logic unit) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำของซีพียู ควบคุมกลไกการทำงาน ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณนาฬิกา เป็นตัวกำหนดจังหวะการทำงาน | ||
2. หน่วยคำนวน (Control Unit) เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นำเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข เป็นต้นการคำนวณทำได้เร็วตามจังหวะการควบคุม ของหน่วยควบคุม |
หน่วยรับข้อมูล (Input unit)
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีหลากหลายอุปกรณ์ ได้แก่
1) คีย์บอร์ด (Keyboard)
อุปกรณ์รับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดตัวอักษรอะไร แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักขระที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์เป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต (Operator)
|
2) เมาส์ (Mouse) |
-แบบทางกล (Mechanical) ใช้ลูกกลิ้งกลม |
-แบบใช้แสง (Optical mouse) |
-แบบไร้สาย (Wireless Mouse) |
3) OCR (Optical Character Reader) |
4) OMR (Optical Mark Reader) |
5) เครื่องอ่านพิกัด (Digitizer) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูล มีลักษณะเป็นแผ่นกระดานสี่เหลี่ยม มีสายไฟฟ้าและอุปกรณ์คล้ายแว่นขยายที่มีเครื่องหมายกากบาทตรงกลาง พร้อมกับปุ่มสำหรับกด โดยปกติมักใช้ในการอ่านจุดพิกัดของแผนที่ หรือตำแหน่งของภาพกราฟิกต่างๆ |
6) สแกนเนอร์ (Scanner) |
แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อนหน้ากระดาษให้ผ่านหัวสแกนซึ่งอยู่กับที่ |
แบบแท่นนอน (Flatbed scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะมีกลไกคล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร เหมาะสำหรับใช้กับเอกสารทั้งที่เป็นแผ่นเดียวและเอกสารที่เป็นเล่ม |
แบบมือถือ (Hand-held Scanner) สแกนเนอร์แบบมือถือได้รวมเอาข้อดีของสแกนเนอร์ ทั้งสองแบบเข้าไว้ด้วยกัน |
7) ปากกาแสง (Light Pen) |
8) จอยสติก (Joy Sticks) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมทิศทางของวัตถุบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะใช้ในการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ มีทั้งที่เป็นแบบแบน แบบคันโยก หรือ แบบพวงมาลัย |
9) จอสัมผัส (Touch Screen) |
10) เครื่องเทอร์มินัล (Point of Sale Terminal) |
11) แผ่นสัมผัส (Touch Pads) |
12) กล้องดิจิทัล (Digital Camera) |
13) อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Voice Input Devices)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไมโครโฟน
|
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (Computer hardware)
ความหมายของฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยทั่วไปจะมีฮาร์ดแวร์หลัก ๆ ได้แก่
1. ตัวเครื่อง (Case) ทำหน้าที่ในส่วนของการประมวลผลข้อมูลที่ได้รับมาจากอุปกรณ์นำเข้าต่างๆ ซึ่งภายในตัวเครื่องจะมีอุปกรณ์หลัก ได้แก่ แผงวงจรหลัก หม้อแปลงไฟฟ้า ซีพียู ฮาร์ดดิสก์ หน่วยความจำ การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง เป็นต้น
2. จอภาพ (Monitor) ทำหน้าที่แสดงผลข้อความ รูปภาพ
3. ดิสก์ไดร์ฟ (Disk drive) เป็นอุปกรณ์อ่าน-เขียนข้อมูลบนดิสก์เก็ต
4. คีย์บอร์ด (Keyboard) ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
5. เม้าส์ (Mouse) เป็นส่วนที่ใช้สั่งงานด้วยการชี้และเลือกสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่บนจอภาพ
6. ลำโพง (Speaker) เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลที่เป็นเสียง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จำแนกตามหน้าที่ของฮาร์ดแวร์สามารถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 5 ส่วน คือ
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่รับโปรแกรมคำสั่ง และข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้มาจากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
5. อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
ความหมายของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ
- ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
- ซอฟต์แวร์ (Software)
- บุคลากร (Peopleware)
รายชื่อสมาชิก
นางสาวสุชัญญา แก้วคำรอด เลขที่ 34 ม.5/3
นางสาวฐนัทวรดา ฐกฤตกุลวิวัฒน์ เลขที่ 35 ม.5/3
นางสาวชารียา ชมสา เลขที่่ 36 ม.5/3
นางสาวพิมพ์ชนก จันทร์ใย เลขที่ 38 ม.5/3
นางสาวสิริมณี ชนะศึก เลขที่ 39 ม.5/3
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)